กินถั่วแล้วตด? สาเหตุมาจากอะไร?
When you drink pealicious, there is no blotting.That's why we are so different and must try !!
![](https://static.wixstatic.com/media/f88321_0b17c131024d424cbab61a67f1fbd0e2~mv2.jpg/v1/fill/w_980,h_983,al_c,q_85,usm_0.66_1.00_0.01,enc_auto/f88321_0b17c131024d424cbab61a67f1fbd0e2~mv2.jpg)
หลายๆ คนคงเป็นกังวลเรื่องการทานโปรตีนพืชแล้วท้องอืด, เรอบ่อย อยู่ใช่ไหม?
ซึ่งระบบย่อยอาหารมีอวัยวะหลายส่วน ได้แก่ ปาก คอหอย หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้ ตับอ่อน ตับ ถุงน้ำดี ซึ่งการย่อยแต่ละขั้นตอนจะมีกระบวนการที่ไม่เหมือนกัน
.
โดยกระบวนการย่อยในลำไส้ของเรา จะมี Enzyme ที่ช่วยย่อยสารอาหาร
ทริปซิน (Trypsin) ย่อย Peptide
อะไมเลส (Amylase) ย่อย Carbohydrate
ไลเปส (Lipase) ย่อย Fat
โดยหลังการย่อยอาหารร่างกายจะปล่อยขับสิ่งที่ไม่จำเป็นออกมาต่างๆ ไม่ว่าจะน้ำหรือ Gas Ammonia ต่างๆ เพื่อให้ร่างกายกลับมาทำงานเป็นปกติ ทีนี้การที่เรารับประทานโปรตีนพืชเข้าไป โดยหลังการย่อยอาหารร่างกายจะปล่อยสิ่งที่ไม่จำเป็นออกมา ไม่ว่าจะเป็นน้ำหรือ gas ammonia เพื่อให้ร่างกายกลับมาทำงานได้ปกติ
.
และการที่เรารับประทานโปรตีนพืชจากถั่วต่างๆ ที่มี fiber และ Oligosaccharide สูงและร่างกายไม่สามารถย่อยได้สมบูรณ์ จึงมีการผลิต gas ออกมามากกว่าปกติ ส่งผลให้เราท้องอืด เรอ และในบางรายการตดไม่หยุด
.
สาเหตุหลักๆ ที่คนส่วนใหญ่เกิดอาการ Bloating หลังทานโปรตีนจากพืช จำพวกถั่วและ legumes คือ Fiber และ Oligosaccharide ซึ่งมีอยู่เป็นจำนวนมาก บริเวณเปลือกหุ้มเมล็ด
.
ด้วยเทคโนโลยีในการสกัดที่แตกต่าง Organic Pea Protein ของเราสามารถแยก Oligosaccharide รวมถึง lectin ออกจากโปรตีนของเราได้อย่างหมดจด ด้วย Water-enzymed technology เทคนิคสิทธิบัตรที่ไม่มีใครลอกเลียนแบบได้
.
ต่างจากโปรตีนพืชแหล่งอื่นๆ ที่มีการใช้ Hexane เป็น Solvent ในการแยกไขมันออกจากโปรตีน และล้าง Hexane ออกด้วย Ethanol ซึ่งนอกจากจะยังทำให้มี oligosaccharide เหลือรอดแล้วยังเพิ่มโอกาสปนเปื้อน Hexane ซึ่งถือว่าเป็น Endocrine disrupting chemical ซึ่งผลต่อความสมดุลย์ฮอร์โมน
.
โดย Pealicious เราคิดค้นมาให้ทุกคนมีสุขภาพที่ดี อร่อย แถมทานได้ตลอด หาเพื่อนๆ มีคำถามสามารถเข้ามาพูดคุยกันได้ที่ Line : @pealicious
https://page.line.me/dyi6867s หรือ Click ปรึกษานักโภชนาการ
.
Peng Y, Kyriakopoulou K, Ndiaye M, Bianeis M, Keppler JK, van der Goot AJ. Characteristics of Soy Protein Prepared Using an Aqueous Ethanol Washing Process. Foods. 2021 Sep 18;10(9):2222. doi: 10.3390/foods10092222. PMID: 34574332; PMCID: PMC8469348.
Comments